Monthly archives "มีนาคม 2015"

Workshop การใช้งาน UnetLab

สวัสดีครับ วันนี้ขอมาเสนอ Workshop การใช้งาน UnetLab สำหรับผู้ที่สนใจนำ UnetLab มาใช้งานเพื่อทำ Lab ขั้นสูงเพื่อนำไปเรียนรู้เพื่อนำไปต่อยอดในการทำงานกันครับ

ความรู้เบื้องต้นของผู้ที่ต้องการเข้าร่วม Workshop

1. สามารถใช้งาน Linux command เบื้องต้นได้

2. สามารถใช้งาน Vmware workstation ได้

3. สามารถ Configure อุปกรณ์ Network เช่น Cisco device, Arista ได้

จุดประสงค์

1. เพื่อให้ผู้ที่สนใจการใช้งาน UnetLab สามารถเรียนรู้การใช้งาน UnetLab ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2. ความรู้ที่ได้จาก Workshop ไปประยุกต์ใช้งานในอนาคตกรณีที่ UnetLab มีการเพิ่ม Support devices ในอนาคต

3. เพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาการใช้งาน UnetLab เบื้องต้นได้ด้วยตนเอง

 

เนื้อหา

1. แนะนำ UnetLab ข้อจำกัด ข้อดี ข้อเสียต่างๆ

2. แนะนำการติดตั้ง UnetLab ใน Vmware workstation และ Requirement ที่จำเป็นต่างๆในการติดตั้ง

3. การ Upgarde และเช็ค Version ของ UnetLab

4. การทำ Windows integration เพื่อให้สามารถรองรับการใช้ VNC, Telnet (Putty) console เพื่อทำการตั้งค่าอุปกรณ์โดยการคลิกที่อุปกรณ์บน Web-GUI

5. การใช้งาน Pnet เพื่อทำ Management network ให้กับ Virtual devices กรณีที่ต้องการ Configure อุปกรณ์แบบใช้ Web-GUI เช่น PaloAlto, F5

6. การแก้ปัญหาต่างๆที่พบในการติดตั้งและการใช้งานทั่วไป เช่น พื้นที่ Disk ไม่เพียงพอต้องการขยาย Virtual disk หรือการ ลบ Lab ที่สร้างขึ้นเพื่อให้ได้พื้นที่ Disk คืนมาแบบ 100% เมื่อลบ Lab

7. Disk type ชนิดต่างๆที่ UnetLab support และ Disk Boot order ใน UnetLab

8. การ Convert disk type ต่างๆใน UnetLab เพื่อการ Import/Export ไปมาระหว่าง VirtualBox/Vmware/UnetLab เพื่อให้เข้าใจหลักการทำงาน และนำไปประยุกต์ใช้งานกับอุปกรณ์ที่ไม่มีการระบุขั้นตอนอยู่ใน Website ของ UnetLab ได้

9. การกำหนด/หาชื่อ Prefix สำหรับอุปกรณ์ที่ต้องการเพิ่มเข้ามาใน UnetLab เพื่อให้สามารถสร้าง Path ให้ถูกต้องและนำไปใช้ได้กับ UnetLab version ใหม่ๆที่จะออกตามมาในอนาคตได้

10. ตัวอย่างการ Register กับ Arista เพื่อขอไฟล์ ISO/VM ของ Arista เพื่อนำมาใช้ใน UnetLab

11. การ Convert Disk ของ Arista เพื่อนำมาใช้งานใน UnetLab (Arista จะมีการใช้งานทั้งในส่วนของ CD image และการ Convert VM disk ซึ่งทำให้เข้าใจหลักการของ Boot order ได้)

12. Mini Lab: OSPF multi area โดยใช้ Arista switch

 

 

หมายเหตุ:

1. รับจำกัดจำนวน 10 ท่าน ต้องลงชื่อและจ่ายเงินมัดจำ 1,000 บาท (ลงชื่อครบ 10 ท่านถึงจะเปิด Workshop)

2. ผู้เข้าร่วม Workshop ต้องนำ Notebook มาเอง และ Notebook ต้อง Support VT (Virtual Technology)

 

จำนวนวัน : 1 วัน (เสาร์หรืออาทิตย์)

สถานที่ : จะแจ้งให้ทราบอีกครั้ง

ค่าใช้จ่าย : 2,000 บาท (รวมค่าอาหารกลางวัน พักเบรก เช้าและบ่าย)

 

ท่านที่สนใจสามารถลงชื่อได้ที่ Link นี้ครับ -> http://goo.gl/forms/uRJ8QqzwAB

 

 

Service Provider Lab Series Part 2

วันนี้กลับมาต่อกับ Service Provider ในตอนที่ 2

ใช้ Diagram เดิมในตอนที่แล้วแบบนี้ครับกันลืม

ในตอนนี้เราจะมาทำการ Configure OSPF เพิ่มเติมอีกเล็กน้อยคือการให้ P และ PE Router ทำการ Advertised Loopback 0 ของตัวเองออกมาใน Routing table และเพิ่ม Router ID ให้เป็น Loopback 0 IP address เช่นกัน โดยใช้ Command ดังนี้

=== P-XR-1 ===

interface loopback 0
ip address 1.1.1.1 255.255.255.0
router ospf LAB
router-id 1.1.1.1
area 0.0.0.0
interface Loopback0

=== P-XR-2===

interface loopback 0
ip address 2.2.2.2 255.255.255.0
router ospf LAB
router-id 2.2.2.2
area 0.0.0.0
interface Loopback0

=== PE-IOU-1 ===

interface loopback 0
ip address 3.3.3.3 255.255.255.0
router ospf 1
router-id 3.3.3.3
network 3.3.3.3 0.0.0.0 area 0

=== PE-IOU-2 ===

interface loopback 0
ip address 4.4.4.4 255.255.255.0
router ospf 1
router-id 4.4.4.4
network 4.4.4.4 0.0.0.0 area 0

=== PE-IOU-3 ===

interface loopback 0
ip address 5.5.5.5 255.255.255.0
router ospf 1
router-id 5.5.5.5
network 5.5.5.5 0.0.0.0 area 0

=== PE-IOU-4 ===

interface loopback 0
ip address 6.6.6.6 255.255.255.0
router ospf 1
router-id 6.6.6.6
network 6.6.6.6 0.0.0.0 area 0

ทำการ Advertised Loopback IP Address เข้าไปที่ IP Address ของ P และ PE Router เข้าไปใน OSPF จากนั้นทำการเช็ค Routing table บน P-XR-1 จะได้ผลดังนี้

กรณีที่ตรวจสอบแล้วผลลัพธ์ไม่ได้แบบในภาพให้ทำการ Clear OSPF process โดยใช้ Command ดังนี้

#clear ip ospf process

ให้ลองทำการเช็ค OSPF neighbor บน P-XR-1 หลังจากทำการแก้ OSPF Router ID บน PE-IOU-1 จะได้ผลดังนี้

 

เมื่อทำการ Configure OSPF เสร็จแล้วให้ทำการ Configure BGP ต่อโดยใช้เงื่อนไขดังนี้

  • กำหนดให้ P-XR-1 และ P-XR-2 เป็น Route reflector server
  • กำหนดให้ PE-IOU-1 ถึง PE-IOU-4 เป็น Route reflector client
  • กำหนดให้ทำการ Peer BGP ด้วย Interface Loopback 0

=== P-XR-1 ===

router bgp 100
bgp router-id 1.1.1.1
address-family ipv4 unicast
neighbor 2.2.2.2
remote-as 100
update-source Loopback0
address-family ipv4 unicast
neighbor 3.3.3.3
remote-as 100
update-source Loopback0
address-family ipv4 unicast
route-reflector-client
neighbor 4.4.4.4
remote-as 100
update-source Loopback0
address-family ipv4 unicast
route-reflector-client
neighbor 5.5.5.5
remote-as 100
update-source Loopback0
address-family ipv4 unicast
route-reflector-client
neighbor 6.6.6.6
remote-as 100
update-source Loopback0
address-family ipv4 unicast
route-reflector-client

=== P-XR-2 ===

router bgp 100
bgp router-id 2.2.2.2
address-family ipv4 unicast
neighbor 1.1.1.1
remote-as 100
update-source Loopback0
address-family ipv4 unicast
neighbor 3.3.3.3
remote-as 100
update-source Loopback0
address-family ipv4 unicast
route-reflector-client
neighbor 4.4.4.4
remote-as 100
update-source Loopback0
address-family ipv4 unicast
route-reflector-client
neighbor 5.5.5.5
remote-as 100
update-source Loopback0
address-family ipv4 unicast
route-reflector-client
neighbor 6.6.6.6
remote-as 100
update-source Loopback0
address-family ipv4 unicast
route-reflector-client

=== PE-IOU-1 ===

router bgp 100
bgp router-id 3.3.3.3
bgp log-neighbor-changes
no bgp default ipv4-unicast
neighbor 1.1.1.1 remote-as 100
neighbor 1.1.1.1 update-source Loopback0
neighbor 2.2.2.2 remote-as 100
neighbor 2.2.2.2 update-source Loopback0
address-family ipv4
neighbor 1.1.1.1 activate
neighbor 2.2.2.2 activate
exit-address-family

=== PE-IOU-2 ===

router bgp 100
bgp router-id 4.4.4.4
bgp log-neighbor-changes
no bgp default ipv4-unicast
neighbor 1.1.1.1 remote-as 100
neighbor 1.1.1.1 update-source Loopback0
neighbor 2.2.2.2 remote-as 100
neighbor 2.2.2.2 update-source Loopback0
address-family ipv4
neighbor 1.1.1.1 activate
neighbor 2.2.2.2 activate
exit-address-family

=== PE-IOU-3 ===

router bgp 100
bgp router-id 5.5.5.5
bgp log-neighbor-changes
no bgp default ipv4-unicast
neighbor 1.1.1.1 remote-as 100
neighbor 1.1.1.1 update-source Loopback0
neighbor 2.2.2.2 remote-as 100
neighbor 2.2.2.2 update-source Loopback0
address-family ipv4
neighbor 1.1.1.1 activate
neighbor 2.2.2.2 activate
exit-address-family

=== PE-IOU-4 ===

router bgp 100
bgp router-id 6.6.6.6
bgp log-neighbor-changes
no bgp default ipv4-unicast
neighbor 1.1.1.1 remote-as 100
neighbor 1.1.1.1 update-source Loopback0
neighbor 2.2.2.2 remote-as 100
neighbor 2.2.2.2 update-source Loopback0
address-family ipv4
neighbor 1.1.1.1 activate
neighbor 2.2.2.2 activate
exit-address-family

เมื่อทำการ Configure BGP ตามข้อกำหนดเสร็จแล้วให้ทำการตรวจสอบ BGP peer ที่ P-XR-1 และ PE-IOU-4 ดังนี้

=== P-XR-1 ===

sh bgp summary

=== PE-IOU-1 ===

sh ip bgp summary

เมื่อทำการ Peer BGP ครบเรียบร้อยแล้วให้ลองทดสอบการทำงานของ Route reflector ที่ได้ทำการ Configure ไว้โดยลองให้ PE-IOU-1 ทำการเพิ่ม Interface Loopback 100 และทำการ Advertised network เข้าไปใน BGP

=== PE-IOU-1 ===

interface Loopback100

ip address 100.100.100.100 255.255.255.0

router bgp 100

address-family ipv4

network 100.100.100.0 mask 255.255.255.0

หลังจากนั้นให้ทำการตรวจสอบโดยการ Verify ฺBGP route ที่ PE-IOU-4 ดังนี้

=== PE-IOU-4 ===

show ip bgp sum

show ip bgp

จากผลการ Verify โดยใช้ Command “show ip bgp sum” จะเห็นได้ว่า PE-IOU-4 จะเห็น Prefix เข้ามาจาก Neighbor 1.1.1.1 (P-XR-1) และ 2.2.2.2 (P-XR-2) ตัวละ 1 Route ซึ่งเป็น Route reflector server ทั้งคู่

และเมื่อใช้ Command “show ip bgp” จะเห็น Route 100.100.100.0/24 เข้ามา 2 Route และมี 1 Route เป็น Best path

กรณีที่ต้องการหาว่า Best route 100.100.100.0/24 ที่ BGP เลือกไปใส่ลงใน Routing table มาจาก Router ตัวใดให้ใช้ Command “sh ip bgp 100.100.100.0” ที่ PE-IOU-4 จะได้ผลดังนี้

 

จากรูปจะเห็นได้ว่า Route 100.100.100.0/24 ที่เป็น Best route ได้มากจาก Neighbor 1.1.1.1 (P-XR-1) จาก Keyword “best” ในรูปด้านบน

วันนี้จบตอนนี้ 2 ในส่วน BGP เท่านี้ครับ ^^

Policy Based Routing บน PaloAlto

ดึกแล้วแต่เรายังไม่นอน – ตอนนี้พยามยามบังคับตัวเองให้เขียน Blog ให้ได้อาทิตย์ละครั้งครับ ><”

อาทิตย์นี้สลับมาทำ Lab ด้วย PaloAlto กันต่อกันอีกสักหนึ่ง Lab ว่ากันด้วยเรื่องของ Policy Based Routing ครับ

ก่อนเริ่มต้นก็ต้องมี Diagram กันก่อนโดยผมจะใช้ Diagram ดังนี้ครับ ใน Lab นี้จะใช้ BGP เป็น routing protocol ใน Internet zone เพื่อความสมจริงส่วนตัวครับ

ต่อมาก็เริ่มสร้าง Lab กันด้วย UnetLab ตามเดิมครับ จะได้ Diagram ตามนี้

โดยอุปกรณ์ที่ใช้ก็จะมีดังนี้

1. PaloAlto – VM

2. IOU-L2 (Core-SW)

3. IOU-L3 (ISP-1, ISP-2 และ Google)

สำหรับ Command ที่ใช้ใน IOU มีดังนี้

=== Core-SW ===
hostname Core-SW
interface Loopback0
ip address 172.16.10.1 255.255.255.0
interface Loopback1
ip address 172.16.20.1 255.255.255.0
interface Ethernet0/0
no switchport
ip address 192.168.50.1 255.255.255.0
no ip http server
ip route 0.0.0.0 0.0.0.0 192.168.50.10

=== ISP-1 ===
hostname ISP-1
interface Loopback100
ip address 1.1.1.1 255.255.255.0
interface Ethernet0/0
ip address 203.111.111.1 255.255.255.240
shutdown
interface Ethernet0/1
ip address 10.1.1.1 255.255.255.0
router bgp 100
bgp router-id 1.1.1.1
bgp log-neighbor-changes
network 203.111.111.0 mask 255.255.255.240
neighbor 10.1.1.2 remote-as 300

=== ISP-2 ===
hostname ISP-2
interface Loopback0
ip address 2.2.2.2 255.255.255.0
interface Ethernet0/0
ip address 202.222.222.1 255.255.255.240
interface Ethernet0/1
ip address 20.1.1.1 255.255.255.0
router bgp 200
bgp router-id 2.2.2.2
bgp log-neighbor-changes
network 202.222.222.0 mask 255.255.255.240
neighbor 20.1.1.2 remote-as 300

=== Google ===
hostname GOOGLE
interface Loopback0
ip address 8.8.8.8 255.255.255.0
interface Loopback1
ip address 8.8.4.4 255.255.255.0
interface Loopback100
ip address 3.3.3.3 255.255.255.0
interface Ethernet0/0
ip address 10.1.1.2 255.255.255.0
interface Ethernet0/1
ip address 20.1.1.2 255.255.255.0
router bgp 300
bgp router-id 3.3.3.3
bgp log-neighbor-changes
network 8.8.4.0 mask 255.255.255.0
network 8.8.8.0 mask 255.255.255.0
neighbor 10.1.1.1 remote-as 100
neighbor 20.1.1.1 remote-as 200

สำหรับการตั้งค่า Policy Based Routing จะมีดังนี้ครับ

1. สร้าง Default route ออกไปที่ Backup interface ที่ต้องการ ในกรณีนี้คือ Interface ethernet1/3 โดยให้มีค่า AD สูงๆ เพื่อให้ Default route นี้ไม่ทำงานจนกว่าจะ Monitor IP ที่ต้องการไม่ได้ ตามรูปครับ

2. สร้าง Security policy เพื่อทำการทดสอบการทำงาน ในกรณีนี้ผมจะใช้ Ping/Traceroute เป็นหลักในการทดสอบ

3. สร้าง NAT policy สำหรับออก Internet มาสองอัน โดยอันแรกใช้สำหรับ ISP-1 และอันที่สองใช้สำหรับ ISP-2

4. สร้าง Policy Based Forwarding rule ในกรณีนี้ผมจะใช้ชื่อ PBR-ISP-1 เพราะว่าต้องการ Monitor ISP-1 และเมื่อ IP ของ ISP-1 ไม่สามารถ Ping ได้จะให้ทำการ Fail-over ไปที่ Default route ปกติที่อยู่ใน Default Virtual Router

4.1 ตั้งชื่อให้ PBR

4.2 ใส่ Source zone

4.3 Destination/Application/Service ให้ใช้ค่า Default

4.4 Forwarding ให้ตั้งค่าดังนี้

  • Action                   : Forward
  • Egress Interface : ethernet1/2 (Interface ที่ต่อกับ ISP-1)
  • Next Hop             : 203.111.111.1 (Interface IP Address ของ ISP-1 ที่ต่อกับเรา)
  • Enable                  : Monitor
  • Profile                   : PBR-ISP-1 (การสร้างดูได้จากขั้นตอนที่ 5)
  • Enable                  : Disable this rule if nexthop/monitor ip is unreachable
  • IP Address           : 8.8.8.8

5. สร้าง Monitor profile สำหรับการทำ Fail-over โดยจะต้องทำการเลือก Action เป็น Fail Over เท่านั้น

6. เมื่อจบขั้นตอนทั้งหมดแล้วให้ทำการ Commit เพื่อให้ PaloAlto นำค่าไปใช้งานต่อไป

เมื่อทำการ Configure อุปกรณ์ทั้งหมดแล้วให้ทำการตรวจสอบต่างๆดังนี้

=== Google ===

show ip route

 

เมื่อที่ Google router ได้รับ Routing จาก ISP-1 และ ISP-2 จากนั้นให้ทำการใช้ PaloAlto ping ไปที่ IP Address 8.8.8.8 โดยเปลี่ยน Source IP address เป็น IP Address ต่างๆดังนี้เพื่อทำการทดสอบการทำงาน

=== 203.111.111.2 ===

=== 202.222.222.2 ===

=== 192.168.50.10 ===

ถ้าผ่านทั้งสามขั้นตอนนี้แสดงว่า Routing บน PaloAlto สามารถใช้งานได้ตามที่ต้องการแล้ว ต่อมาให้ทำการใช้ LAN Network ทดสอบ Ping ออกมาที่ IP Address 8.8.8.8 เช่นเดียวกันเพื่อทดสอบ NAT และ Security rule บน PaloAlto

ถึงขั้นตอนนี้แล้วแสดงว่า Rule ที่ตั้งค่าไว้ทำงานได้ตามที่ต้องการแล้วทั้งหมดเหลือแต่ PBR อย่างสุดท้ายแล้ว!!!

ขั้นตอนนี้ให้ทำการ Shutdown interface e0/0 ของ ISP-1 เพื่อทำให้ Monitor profile ของ PaloAlto ทำงานในระหว่างนั้นให้ทำการใช้ Core-SW ping ออกไปที่ IP Address ค้างไว้เพื่อทดสอบการทำงานของ PBR โดยจะได้ผลการทดสอบดังนี้

จะเห็นได้ว่าสามารถ Ping ออกไปที่ IP Address ได้ตลอดถึงแม้จะมี Timeout เกิดขึ้นบ้างเป็นช่วงเนื่องจากเป็นการใช้งาน Emulator แต่ในกรณีที่ใช้งานจริงจะมีความเสถียรมากกว่านี้ ต่อไปให้ทำการเช็ค System Log ของ PaloAlto จะพบว่า Monitor IP down และมีการ Bypass traffic ออกไปได้ตามรูปด้านล่างนี้

 

สำหรับหัวข้อ Policy Based Routing บน PaloAlto ก็จบลงเพียงเท่านี้ครับ ^^

 

 

Service Provider Lab Series Part 1

สลัดความขี้เกียจในวันหยุดกันด้วยการลองหาอะไรใหม่ๆทำกันดีกว่า ^^

ขอเริ่มเขียนหัวข้อต่อเนื่องในรูปแบบ Series ตัวแรกของปีนี้ด้วย Service Provider Lab แล้วกันนะครับ โดยใน Series นี้จะเน้นให้ทำการลอง Config อุปกรณ์ IOS-XR (XRv) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ของสาย Service Provider กันครับ สำหรับ IOS-XE นั้นจากการทดสอบการใช้งานแล้วพอว่ามีปัญหาอย่างนึงซึ่งเป็นตัวตัดสินใจให้ผมไม่นำ IOS-XE มาใช้คือเรื่องของระยะเวลาในการ Boot ของอุปกรณ์ซึ่งนานมาก ดังนั้นในส่วนของ PE และ CE ผมจะใช้ IOU-L3 ในการใช้งานทั้งหมด ซึ่งรูปแบบในการ Configure ของ IOS และ IOS-XE ไม่มีความต่างกันมาก(ไม่ต่างเลยล่ะ)ดังนั้นจึงไม่เป็นปัญหาในส่วนนี้ครับ

 

สำหรับ Series นี้จะใช้ Diagram ตามรูปด้านล่างนี้เป็นหลักจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงในส่วนของ Core Network ที่ทำเป็นกรอบสีไว้ การแก้ไขตั้งใจว่าจะให้มีการแก้ไขที่อุปกรณ์ CE หรือ Customer Edge เท่านั้น สำหรับความตั้งใจแรกในการทำ Lab นี้ขึ้นมาก็เพื่อทบทวนเนื่อหาที่ผมเคยได้เรียนไปบ้างแล้ว ในส่วนของ MPLS VPN ดังนั้นเนื้อหาจะเป็นการใช้งาน L3 VPN ก่อนเป็นอันดับแรก ถ้ามีไฟต่อก็อาจจะทำในส่วนอื่นต่อไปอีกทีอาจจะเป็น L2 VPN – VPLS ก็ได้

Emulator ที่ผมใช้ในการทำ Lab เช่นเคย UnetLab เจ้าเดิม แต่สำหรับท่านที่ไม่ได้ใช้ UnetLab ก็ยังสามารถลองทำตามได้ตามปกติไม่มีปัญหาแต่ประการใดทั้งในส่วนของ GNS3 และ IOU-Web ก็สามารถนำมาใช้ทำ Lab ได้อย่างไม่มีปัญหา

เนื่องจากคิดว่าจะเขียนเป็น Series คือมีหลายๆตอนดังนั้นในแต่ละตอนจะเป็นแค่ Lab เบาๆ ^^ ไม่รุนแรงมากไม่เน้นทฤษฎี สำหรับในตอนแรกจะเริ่มด้วยการสร้าง OSPF Network ที่ Core Network ของ Service Provider กันก่อนโดยจะใช้แค่ OSPF Area 0 เพียงตัวเดียวเพื่อให้ง่ายในการทำ Lab

สำหรับรายละเอียดของอุปกรณ์ที่ผมใช้คือ XRv และ IOU-L3 มีดังนี้ครับ

XRv

IOU

จากนั้นให้ทำการสร้าง Diagram ใน UnetLab เหมือนกับ Diagram ที่ทำไว้ใน Visio ก็จะได้หน้าตาแบบในรูปต่อไปนี้

หลังจากนั้นให้ทำการ Start อุปกรณ์ทั้งหมดขึ้นมาเพื่อเริ่มทำการ Configure โดยให้เริ่มจาก XRv ทั้งสองตัวก่อนโดยใช้ Command ดังนี้

=== P-XR-1 ===

hostname P-XR-1
interface GigabitEthernet0/0/0/0
ipv4 address 10.1.1.1 255.255.255.252
interface GigabitEthernet0/0/0/1
ipv4 address 10.1.1.5 255.255.255.252
interface GigabitEthernet0/0/0/2
ipv4 address 10.1.1.9 255.255.255.252
interface GigabitEthernet0/0/0/3
ipv4 address 10.1.1.13 255.255.255.252
router ospf LAB
area 0.0.0.0
interface GigabitEthernet0/0/0/0
interface GigabitEthernet0/0/0/1
interface GigabitEthernet0/0/0/2
interface GigabitEthernet0/0/0/3

เมื่อทำการ Configure อุปกรณ์แล้วจะต้องทำการใส่ Command “commit” ตามด้วยทุกครั้งสำหรับ IOS-XR เพื่อให้ Command ที่ใส่เข้าไปมีผลในการทำงาน

=== P-XR-2 ===

hostname P-XR-2
interface GigabitEthernet0/0/0/0
ipv4 address 10.1.1.17 255.255.255.252
interface GigabitEthernet0/0/0/1
ipv4 address 10.1.1.21 255.255.255.252
interface GigabitEthernet0/0/0/2
ipv4 address 10.1.1.25 255.255.255.252
interface GigabitEthernet0/0/0/3
ipv4 address 10.1.1.29 255.255.255.252
router ospf LAB
area 0.0.0.0
interface GigabitEthernet0/0/0/0
interface GigabitEthernet0/0/0/1
interface GigabitEthernet0/0/0/2
interface GigabitEthernet0/0/0/3

ส่วนต่อมาคือ PE Router ทั้ง 4 ตัว

=== PE-IOU-1 ===

hostname PE-IOU-1
interface Ethernet0/0
ip address 10.1.1.2 255.255.255.252
interface Ethernet0/1
ip address 10.1.1.18 255.255.255.252
router ospf 1
network 10.1.1.2 0.0.0.0 area 0
network 10.1.1.18 0.0.0.0 area 0

=== PE-IOU-2 ===

hostname PE-IOU-2
interface Ethernet0/0
ip address 10.1.1.6 255.255.255.252
interface Ethernet0/1
ip address 10.1.1.22 255.255.255.252
router ospf 1
network 10.1.1.6 0.0.0.0 area 0
network 10.1.1.22 0.0.0.0 area 0

=== PE-IOU-3 ===

hostname PE-IOU-3
interface Ethernet0/0
ip address 10.1.1.10 255.255.255.252
interface Ethernet0/1
ip address 10.1.1.26 255.255.255.252
router ospf 1
network 10.1.1.10 0.0.0.0 area 0
network 10.1.1.26 0.0.0.0 area 0

=== PE-IOU-4 ===

hostname PE-IOU-4
interface Ethernet0/0
ip address 10.1.1.14 255.255.255.252
interface Ethernet0/1
ip address 10.1.1.30 255.255.255.252
router ospf 1
network 10.1.1.14 0.0.0.0 area 0
network 10.1.1.30 0.0.0.0 area 0

เมื่อทำการ Configure เสร็จแล้ว อุปกรณ์ทุกตัวจะสามารถ Ping หากันได้หมด กรณีที่มีปัญหาไม่พบ Network ใดๆให้ทำการตรวจสอบการ Configure อุปกรณ์อีกครั้ง และให้ทำการตรวจสอบการ Configure OSPF ด้วย Command ดังนี้

XRv

show ospf neighbor จะต้องได้ผลดังนี้

show ospf interface brief จะต้องได้ผลดังนี้

IOU

show ip ospf neighbor จะต้องได้ผลดังนี้

show ip ospf interface brief จะต้องได้ผลดังนี้

และเมื่อใช้ command “show route” “show ip route” จะได้ผลลัพธ์ดังต่อไปนี้

ตัวอย่าง P-XR-1

show route

ตัวอย่าง PE-IOU-1

show ip route

สำหรับการ Configure OSPF ที่ Core Network ก็จะมีเท่านี้ครับ

 

ในตอนถัดไปจะเป็นการเพิ่ม BGP เข้าไปที่ Core Network รอติดตามกันดูนะครับสวัสดี ^^